การบำบัดจิตสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
การบำบัดจิตสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : รังสิมันต์ สุนทรไชยา
- ISBN :9786163148629
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 223
- ขนาดไฟล์ : 10.74 MB
วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางทั้งทางสุขภาพร่างกายและจิตใจ นำมาสู่ผลกระทบที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนจากภาวะสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อสภาพสังคมโดยรวม ปัญหาสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดภาระโรคและความพิการทั่วโลก การจัดบริการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วย ผู้ใช้บริการที่อยู่ในวัยสูงอายุ รวมทั้งสมาชิกครอบครัวของผู้สูงอายุ จึงเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นความต้องการการดูแลสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน การให้ความสำคัญกับการดูแลที่ครอบคลุมความต้องการหรือการตอบสนองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการวัยสูงอายุ เป็นการดูแลแบบองค์รวม ประกอบด้วยวิทยาการก้าวหน้าทางการแพทย์และการพยาบาล การดูแลด้านจิตสังคม จึงเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลอย่างเป็นองค์รวมและนำมาสู่การจัดบริการสุขภาพที่นำไปสู่การลดอาการไม่พึงประสงค์ ลดความทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ ลดภาวะเครียด วิตกกังวล เพิ่มความสุขสบายโดยทั่วไป และฟื้นฟู สภาพร่างกายและจิตสังคม สามารถทำหน้าที่ต่างๆ ตามปกติ ดำเนินชีวิตตามศักยภาพและมีคุณภาพชีวิตที่เป็นสุข ในหนังสือนี้มีเนื้อหา 10 บท
สารบัญ
ส่วนที่ 1 ความรู้และประสบการณ์
- บทที่ 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
- บทที่ 2 ทฤษฎีในการบำบัดจิตสังคม
- บทที่ 3 การประเมินภาวะจิตสังคมในผู้สูงอายุ
- บทที่ 4 การสัมภาษณ์ทางคลินิกและเทคนิค
- บทที่ 5 การใช้แนวปฏิบัติในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูงและการประเมินผลลัพธ์
- บทที่ 6 การเชื่อมโยงแนวคิดและการบำบัดในการปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูง
ส่วนที่ 2 ประเภทของการบำบัดทางจิตสังคม
- บทที่ 7 จิตบำบัดประคับประคอง
- บทที่ 8 การบำบัดพฤติกรรมและความคิด
- บทที่ 9 การบำบัดด้วยการระลึกถึงความหลัง
- บทที่ 10 การบำบัดด้วยการแก้ปัญหา
วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางทั้งทางสุขภาพร่างกายและจิตใจ นำมาสู่ผลกระทบที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนจากภาวะสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อสภาพสังคมโดยรวม ปัญหาสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดภาระโรคและความพิการทั่วโลก การจัดบริการสุขภาพในการดูแลผู้ป่วย ผู้ใช้บริการที่อยู่ในวัยสูงอายุ รวมทั้งสมาชิกครอบครัวของผู้สูงอายุ จึงเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นความต้องการการดูแลสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน การให้ความสำคัญกับการดูแลที่ครอบคลุมความต้องการหรือการตอบสนองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการวัยสูงอายุ เป็นการดูแลแบบองค์รวม ประกอบด้วยวิทยาการก้าวหน้าทางการแพทย์และการพยาบาล การดูแลด้านจิตสังคม จึงเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลอย่างเป็นองค์รวมและนำมาสู่การจัดบริการสุขภาพที่นำไปสู่การลดอาการไม่พึงประสงค์ ลดความทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ ลดภาวะเครียด วิตกกังวล เพิ่มความสุขสบายโดยทั่วไป และฟื้นฟู สภาพร่างกายและจิตสังคม สามารถทำหน้าที่ต่างๆ ตามปกติ ดำเนินชีวิตตามศักยภาพและมีคุณภาพชีวิตที่เป็นสุข ในหนังสือนี้มีเนื้อหา 10 บท
สารบัญ
ส่วนที่ 1 ความรู้และประสบการณ์
- บทที่ 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
- บทที่ 2 ทฤษฎีในการบำบัดจิตสังคม
- บทที่ 3 การประเมินภาวะจิตสังคมในผู้สูงอายุ
- บทที่ 4 การสัมภาษณ์ทางคลินิกและเทคนิค
- บทที่ 5 การใช้แนวปฏิบัติในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูงและการประเมินผลลัพธ์
- บทที่ 6 การเชื่อมโยงแนวคิดและการบำบัดในการปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูง
ส่วนที่ 2 ประเภทของการบำบัดทางจิตสังคม
- บทที่ 7 จิตบำบัดประคับประคอง
- บทที่ 8 การบำบัดพฤติกรรมและความคิด
- บทที่ 9 การบำบัดด้วยการระลึกถึงความหลัง
- บทที่ 10 การบำบัดด้วยการแก้ปัญหา
สารบัญ
ส่วนที่ 1 ความรู้และประสบการณ์
- บทที่ 1 ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
- บทที่ 2 ทฤษฎีในการบำบัดจิตสังคม
- บทที่ 3 การประเมินภาวะจิตสังคมในผู้สูงอายุ
- บทที่ 4 การสัมภาษณ์ทางคลินิกและเทคนิค
- บทที่ 5 การใช้แนวปฏิบัติในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูงและการประเมินผลลัพธ์
- บทที่ 6 การเชื่อมโยงแนวคิดและการบำบัดในการปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชขั้นสูง
ส่วนที่ 2 ประเภทของการบำบัดทางจิตสังคม
- บทที่ 7 จิตบำบัดประคับประคอง
- บทที่ 8 การบำบัดพฤติกรรมและความคิด
- บทที่ 9 การบำบัดด้วยการระลึกถึงความหลัง
- บทที่ 10 การบำบัดด้วยการแก้ปัญหา