คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : ปิยดา ชลวร
  • ISBN :9786163146441
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 207
  • ขนาดไฟล์ : 10.50 MB
หนังสือเล่มนี้เป็นการรวมเอาบทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ปัตตานีที่ข้าพเจ้าตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2556 ถึง 2561 โดยได้แก้ไขและเพิ่มเติมในบางส่วนบางบท เช่นบทที่ 5 เขียนขึ้นใหม่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ที่ใดอาจถือได้ว่าหนังสือเล่มนี้เป็นเล่มต่อจาก ประวัติศาสตร์ปัตตานีในศตวรรษที่ 16-18 จากบันทึกของจีน ริวกิวและญี่ปุ่น (สำนักพิมพ์ซิล์คเวิร์ม 2554) ซึ่งเป็นการศึกษาปัตตานีในยุครายาโดยใช้เอกสารต่างชาติเป็นหลัก หนังสือเล่มนี้พูดถึงประวัติศาสตร์ปัตตานีในสมัยที่ถูกไทยเข้ามาปกครองและแบ่งเป็นเจ็ดหัวเมืองในปลายสมัยรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2353-2453) เจ็ดหัวเมืองนั้นก็คือบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปัจจุบันโดยใช้เอกสารไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งอยู่ในรูปรายงาน (หรือใบบอก) และจดหมายโต้ตอบทางราชการ สารบัญ บทนำ: ใครสร้างประวัติศาสตร์ ใครลบประวัติศาสตร์ 1 บทที่ 1 ปัตตานีในยุคเจ็ดหัวเมือง บทที่ 2 การปฏิรูปกฎหมายและการศาล บทที่ 3 การสร้างอำนาจของสยามในหัวเมืองชายขอบ บทที่ 4 เหมืองดีบุกและชุมชนจีน บทที่ 5 การยกดินแดนและแบ่งเขตแดนสยาม-บริติชมลายา บทที่ 6 ส่วย ภาษีและผลประโยชน์ของเจ้าเมือง บทส่งท้าย บรรณานุกรม ดัชนี
หนังสือเล่มนี้เป็นการรวมเอาบทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ปัตตานีที่ข้าพเจ้าตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2556 ถึง 2561 โดยได้แก้ไขและเพิ่มเติมในบางส่วนบางบท เช่นบทที่ 5 เขียนขึ้นใหม่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ที่ใดอาจถือได้ว่าหนังสือเล่มนี้เป็นเล่มต่อจาก ประวัติศาสตร์ปัตตานีในศตวรรษที่ 16-18 จากบันทึกของจีน ริวกิวและญี่ปุ่น (สำนักพิมพ์ซิล์คเวิร์ม 2554) ซึ่งเป็นการศึกษาปัตตานีในยุครายาโดยใช้เอกสารต่างชาติเป็นหลัก
หนังสือเล่มนี้พูดถึงประวัติศาสตร์ปัตตานีในสมัยที่ถูกไทยเข้ามาปกครองและแบ่งเป็นเจ็ดหัวเมืองในปลายสมัยรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2353-2453) เจ็ดหัวเมืองนั้นก็คือบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปัจจุบันโดยใช้เอกสารไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งอยู่ในรูปรายงาน (หรือใบบอก) และจดหมายโต้ตอบทางราชการ

สารบัญ
บทนำ: ใครสร้างประวัติศาสตร์ ใครลบประวัติศาสตร์ 1
บทที่ 1 ปัตตานีในยุคเจ็ดหัวเมือง
บทที่ 2 การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
บทที่ 3 การสร้างอำนาจของสยามในหัวเมืองชายขอบ
บทที่ 4 เหมืองดีบุกและชุมชนจีน
บทที่ 5 การยกดินแดนและแบ่งเขตแดนสยาม-บริติชมลายา
บทที่ 6 ส่วย ภาษีและผลประโยชน์ของเจ้าเมือง
บทส่งท้าย
บรรณานุกรม
ดัชนี