วิทยาการระบาด
วิทยาการระบาด
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : สวณี เต็งรังสรรค์
- ISBN :9786163141231
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 106
- ขนาดไฟล์ : 6.62 MB
วิทยาการระบาด เป็นหนังสือที่อธิบายหลักการพื้นฐานทางวิทยาการระบาดตั้งแต่ความเป็นมาของวิทยาการระบาด แนวคิดและหลักการ นิยาม สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในวิทยาการระบาด รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา เชิงวิเคราะห์แบบสังเกต และสถิติทีใช้ในงานวิจัยดังกล่าว ความคลาดเคลื่อนหรือความลำเอียงจากการวิจัย การคัดกรองปัญหาสุขภาพ การประยุกต์งานวิจัยทางวิทยาการระบาดสู่การตัดสินใจ การรักษาและการจัดปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ผู้อ่านสามารถนำองค์ความรู้พื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพหรือการทำวิจัยต่าง ๆ ได้ หนังสือเล่มนี้ใช้คำศัพท์ที่แปลตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
สารบัญ
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการของวิทยาการระบาด
บทที่ 2 วิธีการดำเนินงานและสถิติเชิงพรรณนาทางวิทยาการระบาด
บทที่ 3 รูปแบบ การวิจัยทางวิทยาการระบาด
บทที่ 4 การคิดกรองปัญหาสุขภาพ
บทที่ 5 วิทยาการระบาดกับการวิเคราะห์การตัดสินใจทางการแพทย์และสาธารณสุข
บทที่ 6 การจัดการปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ฯลฯ
วิทยาการระบาด เป็นหนังสือที่อธิบายหลักการพื้นฐานทางวิทยาการระบาดตั้งแต่ความเป็นมาของวิทยาการระบาด แนวคิดและหลักการ นิยาม สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในวิทยาการระบาด รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา เชิงวิเคราะห์แบบสังเกต และสถิติทีใช้ในงานวิจัยดังกล่าว ความคลาดเคลื่อนหรือความลำเอียงจากการวิจัย การคัดกรองปัญหาสุขภาพ การประยุกต์งานวิจัยทางวิทยาการระบาดสู่การตัดสินใจ การรักษาและการจัดปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย ผู้อ่านสามารถนำองค์ความรู้พื้นฐานเหล่านี้ไปใช้ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพหรือการทำวิจัยต่าง ๆ ได้ หนังสือเล่มนี้ใช้คำศัพท์ที่แปลตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
สารบัญ
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการของวิทยาการระบาด
บทที่ 2 วิธีการดำเนินงานและสถิติเชิงพรรณนาทางวิทยาการระบาด
บทที่ 3 รูปแบบ การวิจัยทางวิทยาการระบาด
บทที่ 4 การคิดกรองปัญหาสุขภาพ
บทที่ 5 วิทยาการระบาดกับการวิเคราะห์การตัดสินใจทางการแพทย์และสาธารณสุข
บทที่ 6 การจัดการปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ฯลฯ
สารบัญ
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการของวิทยาการระบาด
บทที่ 2 วิธีการดำเนินงานและสถิติเชิงพรรณนาทางวิทยาการระบาด
บทที่ 3 รูปแบบ การวิจัยทางวิทยาการระบาด
บทที่ 4 การคิดกรองปัญหาสุขภาพ
บทที่ 5 วิทยาการระบาดกับการวิเคราะห์การตัดสินใจทางการแพทย์และสาธารณสุข
บทที่ 6 การจัดการปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย
ฯลฯ