คงเหลือ รอคิว รอ/วัน
1/1 0 0
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์
  • ISBN :9786163145666
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 209
  • ขนาดไฟล์ : 6.01 MB
สังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตเป็นการทำงานที่ต้องมีพื้นฐานด้านความเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์การปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตผู้หนึ่ง เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นได้ว่า นักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตผู้นั้นมีความเข้าใจอย่างไร ต่อผู้ป่วย ผู้ใช้บริการ ญาติหรือครอบครัวของผู้ป่วยผู้ใช้บริการ ประชาชนในชุมชน หรือแม้แต่ต่อทีมสหวิชาชีพ หรือบุคลากรอื่นๆ ในหน่วยงาน การปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตมีสิ่งที่เป็นแนวคิดทฤษฎีที่เป็นรากฐานของการคิด การใช้วิจารณญาณทางวิชาชีพ การพูด การโต้ตอบ การแสดงการกระทำออกมาของนักสังคมสงเคราะห์อย่างแน่นอนชัดเจน ทั้งนี้ แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของมนุษย์นั้นมีอยู่มากมายหลากหลายทฤษฎี สารบัญ - ตอนที่ 1 แนวคิดพื้นฐานของสังคมสงเคราะห์ บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานในการอธิบายธรรมชาติของมนุษย์ บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานในการอธิบายโลกสามยุคสมัย - ตอนที่ 2 แนวคิดจิตเวชร่วมสมัย บทที่ 3 แนวคิดจิตเวชยุคหลัง บทที่ 4 จิตเวชประชาธิปไตย บทที่ 5 จิตเวชแนววิพากษ์ - ตอนที่ 3 ประเด็นปัญหาสำคัญ บทที่ 6 ความไม่เสมอภาคเท่าเทียมในสุขภาพจิต บทที่ 7 การประทับมลทิน บทที่ 8 พื้นที่ใหม่ของสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิต บทที่ 9 บทสรุปส่งท้าย - บรรณานุกรม
สังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตเป็นการทำงานที่ต้องมีพื้นฐานด้านความเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์การปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตผู้หนึ่ง เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นได้ว่า นักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตผู้นั้นมีความเข้าใจอย่างไร ต่อผู้ป่วย ผู้ใช้บริการ ญาติหรือครอบครัวของผู้ป่วยผู้ใช้บริการ ประชาชนในชุมชน หรือแม้แต่ต่อทีมสหวิชาชีพ หรือบุคลากรอื่นๆ ในหน่วยงาน การปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิตมีสิ่งที่เป็นแนวคิดทฤษฎีที่เป็นรากฐานของการคิด การใช้วิจารณญาณทางวิชาชีพ การพูด การโต้ตอบ การแสดงการกระทำออกมาของนักสังคมสงเคราะห์อย่างแน่นอนชัดเจน ทั้งนี้ แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของมนุษย์นั้นมีอยู่มากมายหลากหลายทฤษฎี

สารบัญ
- ตอนที่ 1 แนวคิดพื้นฐานของสังคมสงเคราะห์
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานในการอธิบายธรรมชาติของมนุษย์
บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานในการอธิบายโลกสามยุคสมัย
- ตอนที่ 2 แนวคิดจิตเวชร่วมสมัย
บทที่ 3 แนวคิดจิตเวชยุคหลัง
บทที่ 4 จิตเวชประชาธิปไตย
บทที่ 5 จิตเวชแนววิพากษ์
- ตอนที่ 3 ประเด็นปัญหาสำคัญ
บทที่ 6 ความไม่เสมอภาคเท่าเทียมในสุขภาพจิต
บทที่ 7 การประทับมลทิน
บทที่ 8 พื้นที่ใหม่ของสังคมสงเคราะห์สุขภาพจิต
บทที่ 9 บทสรุปส่งท้าย
- บรรณานุกรม